วันพุธที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

4.1ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

คู่อันดับ (Order Pairเป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ ab จะเขียนแทนด้วย (ab) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (ab) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (ab) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B
สัญลักษณ์      ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A x B
หรือ เขียนในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขจะได้ว่า


3.3 การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

3.3 การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
ตัวแปร    :  อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน
ค่าคงตัว  :  ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2
นิพจน์    :  ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x  ,x-8 ,
เอกนาม  :  นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้                 กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2y
พหุนาม :  นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก   นามขึ้นไป เช่น 3, 5+15xy+10x+5
ดีกรีของเอกนาม ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น x+2xy+1 เป็นพหุนามดีกรี 3 อ่านเพิ่มเติม


3.2 สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

3.2 สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
1) สมบัตของการเท่ากันในระบบจำนวนจริง
         เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ
(1)      สมบัติการสะท้อน a = a
(2)      สมบัติการสมมตรา ถ้า a = a แล้ว b = c
(3)      สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = a และb = c แล้ว a = c
(4)      สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน
ถ้า a = b แล้ว a+c = b+ c
         (5) สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน
              ถ้า  a =  b แล้ว ac = bc
 2) สมบัติการบวกและการคูณจำนวนจริง
            ถ้า a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 3 จำนวนจริง

3.1จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
เซตของจำนวนตรรกยะ เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0 อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 การให้เหตุผล


การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญมีอยู่ 2 วิธี คือ
         3.1การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoningเป็นการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต  หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ซึ่งข้อสรุปที่ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง
         3.2การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning เป็นการนำสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้ว อ่านเพิ่มเติม 


วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

1.4ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต

1.4ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน (Unionยูเนียนของเซต และเซต จะได้เซตใหม่ ซึ่งมีสมาชิกของเซต หรือเซต  หรือทั้งสองเซต
   “ ยูเนียนของเซตA และเซต เขียนแทนด้วย A   B ”
A   B = {x| x   A หรือ เ ป็นสมาชิกของทั้งสองเซต}
เช่น A = {1,3,5} และ B = {3,6,9}
จะได้  A    B ={1,3,5,6,9}
อินเตอร์เซกชัน (Intersection)อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต จะได้เซตใหม่ ซึ่งสมาชิกเป็นสมาชิกของเซตทั้งเซต และเซต B
   “ อินเตอร์เซกชันของเซตและเซต เขียนแทนด้วย A    B อ่านเพิ่มเติม


1.3 สับเซตและเพาเวอร์เซต

1.3 สับเซตและเพาเวอร์เซต
เซต A เป็นสับเซตของเซต ก็ต่อเมื่อ  สมาชิกทุกตัวของ เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย AB เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต ที่ไม่ป็นสมาชิกของเซต เขียนแทนด้วย AB เช่น
A = {3,5และ B = {1,3,5,7,9}
จะได้ว่า  A     B แต่ B  A
สมบัติของสับเซต
1.            A  A และ   A
2.            ถ้าAB และ BC แล้วAC
3.            ACและ BC ก็ต่อเมื่อ A = B